หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์
(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2553)
ชื่อหลักสูตร
ระดับมหาบัณฑิต
ภาษาไทย: หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์
ภาษาอังกฤษ: Master of Education Program in Research and Development on Human Potentials
ระดับดุษฎีบัณฑิต
ภาษาไทย: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์
ภาษาอังกฤษ: Doctor of Philosophy Program in Research and Development on Human Potentials
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ระดับมหาบัณฑิต
ชื่อปริญญา
(ภาษาไทย): การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์
(ภาษาอังกฤษ): Master of Education (Research and Development on Human Potentials)
อักษรย่อปริญญา
(ภาษาไทย): กศ.ม. สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์
(ภาษาอังกฤษ): M.Ed. (Research and Development on Human Potentials)
ระดับดุษฎีบัณฑิต
(ภาษาไทย): ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์
(ภาษาอังกฤษ): Doctor of Philosophy (Research and Development on Human Potentials)
อักษรย่อปริญญา
(ภาษาไทย): ปร.ด. สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์
(ภาษาอังกฤษ): Ph.D. (Research and Development on Human Potentials)
จุดเด่นของหลักสูตร
หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ เป็นหลักสูตรที่ผลิตมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตทางการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ ซึ่งมีการบูรณาการศาสตร์ ผสานหรือเชื่อมโยง 3 กลุ่มวิชาหลักระหว่าง การวัดการประเมินผลและการวิจัย จิตวิทยา และการศึกษาพิเศษเข้าด้วยกันเป็นสหวิทยาการ
อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
ผู้สำเร็จการศึกษาในสาขาวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ สามารถประกอบอาชีพเป็น
- นักวิจัยทางการศึกษา
- นักวัดผลการศึกษา
- นักประเมินและตรวจสอบการประกันคุณภาพการศึกษา
- นักจิตวิทยา
- นัการศึกษาพิเศษ
- ครู อาจารย์
- นักวิชาการในองค์กรภาครัฐและเอกชน
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต
รูปแบบของหลักสูตร
หลักสูตรระดับเอก 3 ปี
ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย เอกสารและตำราใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
การรับเข้าศึกษา รับผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรชาวไทยและชาวต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี
ระบบการจัดการศึกษา
-ระบบ
ระบบการศึกษาเป็นแบบทวิภาค คือ ปีการศึกษาหนึ่งแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ
หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
-การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
อาจจัดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อนเป็นพิเศษได้ โดยมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์(เป็นไปตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร)
การดำเนินการหลักสูตร
วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน | |||
ภาคเรียน | เดือนที่เริ่ม | ถึงเดือน | |
ภาคต้น | สิงหาคม | - | ธันวาคม |
ภาคปลาย | มกราคม | - | พฤษภาคม |
ภาคฤดูร้อน | มิถุนายน | - | กรกฎาคม |
วิชาเอกของหลักสูตร/แขนงวิชา
หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ มี 6 แขนงวิชา (Concentration Area) ได้แก่
1. แขนงวิชาการทดสอบและวัดผลการศึกษา (Educational Testing and Measurement)
2. แขนงวิชาการตรวจสอบและการประกันคุณภาพการศึกษา (Educational Auditing and Quality Assurance)
3. แขนงวิชาการวิจัยและสถิติการศึกษา (Educational Research and Statistics)
4. แขนงวิชาจิตวิทยาพัฒนามนุษย์และการให้คำปรึกษา (Psychology of Human Development and Counseling)
5. แขนงวิชาจิตวิทยาการศึกษา (Educational Psychology)
6. แขนงวิชาการศึกษาพิเศษ (Special Education)
แผนการศึกษา
โครงสร้างหลักสูตร ปร.ด. แบบ2.1 สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
ปีที่ 1 | |||
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 | ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 | ||
วิชาบังคับร่วม | 3 หน่วยกิต | วิชาบังคับร่วม | 3 หน่วยกิต |
วิชาบังคับร่วม | 3 หน่วยกิต | วิชาบังคับร่วม | 3 หน่วยกิต |
วิชาบังคับเฉพาะเอก | 3 หน่วยกิต | วิชาบังคับเฉพาะเอก | 3 หน่วยกิต |
วิชาบังคับเฉพาะเอก | 3 หน่วยกิต | วิชาเลือกเสรี | 3 หน่วยกิต |
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
รวมจำนวนหน่วยกิต | 12 หน่วยกิต | รวมจำนวนหน่วยกิต | 12 หน่วยกิต |
ปีที่ 2 | |||
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 | ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 | ||
ปริญญานิพนธ์ระดับ ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต 1 |
12 หน่วยกิต |
ปริญญานิพนธ์ระดับ ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต 2 |
12 หน่วยกิต |
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
รวมจำนวนหน่วยกิต | 12 หน่วยกิต | รวมจำนวนหน่วยกิต | 12 หน่วยกิต |
ปีที่ 3 | |||
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 | ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 | ||
ปริญญานิพนธ์ระดับ ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต 3 |
12 หน่วยกิต | ||
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
สอบเสนอผลงานวิจัย (Oral Examination) |
|
รวมจำนวนหน่วยกิต | 12 หน่วยกิต |
หมายเหตุ นิสิตอาจได้รับการพิจารณาให้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 87 หน่วยกิต
รูปแบบของหลักสูตร
หลักสูตรระดับเอก 5 ปี
ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย เอกสารและตำราใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
การรับเข้าศึกษา รับผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรชาวไทยและชาวต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี
ระบบการจัดการศึกษา
-ระบบ
ระบบการศึกษาเป็นแบบทวิภาค คือ ปีการศึกษาหนึ่งแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ
หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
-การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
อาจจัดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อนเป็นพิเศษได้ โดยมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์(เป็นไปตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร)
การดำเนินการหลักสูตร
วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน | |||
ภาคเรียน | เดือนที่เริ่ม | ถึงเดือน | |
ภาคต้น | สิงหาคม | - | ธันวาคม |
ภาคปลาย | มกราคม | - | พฤษภาคม |
ภาคฤดูร้อน | มิถุนายน | - | กรกฎาคม |
วิชาเอกของหลักสูตร/แขนงวิชา
หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ มี 6 แขนงวิชา (Concentration Area) ได้แก่
1. แขนงวิชาการทดสอบและวัดผลการศึกษา (Educational Testing and Measurement)
2. แขนงวิชาการตรวจสอบและการประกันคุณภาพการศึกษา (Educational Auditing and Quality Assurance)
3. แขนงวิชาการวิจัยและสถิติการศึกษา (Educational Research and Statistics)
4. แขนงวิชาจิตวิทยาพัฒนามนุษย์และการให้คำปรึกษา (Psychology of Human Development and Counseling)
5. แขนงวิชาจิตวิทยาการศึกษา (Educational Psychology)
6. แขนงวิชาการศึกษาพิเศษ (Special Education)
แผนการศึกษา
โครงสร้างหลักสูตร ปร.ด. แบบ2.2 สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
ปีที่ 1 | |||
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 | ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 | ||
วิชาพื้นฐาน | 3 หน่วยกิต | วิชาพื้นฐาน | 3 หน่วยกิต |
วิชาบังคับร่วม | 2 หน่วยกิต | วิชาบังคับร่วม | 3 หน่วยกิต |
วิชาบังคับร่วม | 2 หน่วยกิต | วิชาบังคับร่วม | 3 หน่วยกิต |
วิชาบังคับร่วม | 2 หน่วยกิต | วิชาบังคับเฉพาะเอก | 3 หน่วยกิต |
วิชาบังคับเฉพาะเอก | 3 หน่วยกิต | วิชาบังคับเฉพาะเอก | 3 หน่วยกิต |
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
รวมจำนวนหน่วยกิต | 12 หน่วยกิต | รวมจำนวนหน่วยกิต | 15 หน่วยกิต |
ปีที่ 2 | |||
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 | ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 | ||
วิชาบังคับร่วม | 3 หน่วยกิต |
ปริญญานิพนธ์ระดับ ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต 1 |
12 หน่วยกิต |
วิชาบังคับร่วม | 3 หน่วยกิต | ||
วิชาบังคับเฉพาะเอก | 3 หน่วยกิต | ||
วิชาเลือก | 3 หน่วยกิต | ||
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
รวมจำนวนหน่วยกิต | 12 หน่วยกิต | รวมจำนวนหน่วยกิต | 12 หน่วยกิต |
ปีที่ 3 | |||
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 | ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 | ||
ปริญญานิพนธ์ระดับ ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต 2 |
12 หน่วยกิต |
ปริญญานิพนธ์ระดับ ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต 3 |
12 หน่วยกิต |
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
รวมจำนวนหน่วยกิต | 12 หน่วยกิต | รวมจำนวนหน่วยกิต | 12 หน่วยกิต |
ปีที่ 4 | |||
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 | ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 | ||
ปริญญานิพนธ์ระดับ ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต 4 |
12 หน่วยกิต |
สอบเสนอผลงานวิจัย (Oral Examination) |
|
สัมมนาปริญญานิพนธ์ ระดับปรัชญาดุษฏีบัณฑิต |
ไม่นับ หน่วยกิต |
||
รวมจำนวนหน่วยกิต | 12 หน่วยกิต |
หมายเหตุ นิสิตอาจได้รับการพิจารณาให้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา
1) ระดับมหาบัณฑิต เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนสุดท้ายของระดับปริญญาตรี (ต้องสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่ระบุไว้ในการสมัครสอบ) โดยไม่จำกัดหลักสูตรและสาขาวิชา
2) ระดับดุษฎีบัณฑิต
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท (ต้องสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาและเงื่อนไขที่ระบุไว้ในการรับสมัครสอบ) หรือ
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนสุดท้ายของระดับปริญญาตรี (ต้องสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาและเงื่อนไขที่ระบุไว้ในการรับสมัครสอบ) และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00 โดยไม่จำกัดหลักสูตรและสาขาวิชา
และมีคุณสมบัติตามประกาศมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนิสิต
ติดตามรายละเอียดการรับสมัครได้ที่เว็บไซต์
คณะศึกษาศาสตร์
โทร 02 649 5000 ต่อ 15598 และ 15597
http://edu.swu.ac.th